4. การหารพหุนาม
การหารพหุนามของตัวแปร x ที่มีดีกรีมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ด้วยพหุนามที่อยู่ในรูป x - a เมื่อ a
0 เช่น


ด้วยวิธีการหารยาวเราสามารถหาผลหารได้ดังนี้
![]() | |
![]() | |
![]() | |
![]() | |
![]() |
ดังนั้น 

วิธีการหารยาวดังกล่าว ค่อนข้างจะเสียเวลา การหารสังเคราะห์เป็นวิธีลัดในการหาผลหารและหาเศษจากการหาร จากตัวอย่างข้างต้นที่กล่าวไปแล้ว จะพบว่ามีตัวเลขบางตัวเกิดซ้ำเช่น 2 , 3 และ -2 ซึ่งเป็นสัมประสิทธิ์ของผลหาร จะเกิดขึ้นในระหว่างการหารสามครั้งและตัวเลข -8 , 15 ซึ่งเป็นสัมประสิทธิ์ของสองพจน์สุดท้ายของตัวตั้งเกิดซ้ำในระหว่างการหารสองครั้ง ถ้าเรานำกระบวนการหารยาวดังกล่าวมาเขียนใหม่อยู่ในรูปสามแถว ดังนี้
![]() | แถวที่ 1 | |
![]() | แถวที่ 2 | |
![]() | แถวที่ 3 |
จากการสังเกตจะพบว่า จำนวนแต่ละจำนวนในแถวที่ 2 เกิดจากการนำ -2 คูณกับจำนวนที่มาก่อนของแถวที่ 3 เช่น
-4 เกิดจาก การนำ -2 คูณกับ 2
-6 เกิดจาก การนำ -2 คูณกับ 3
4 เกิดจาก การนำ -2 คูณกับ -2
นอกจากนั้น จำนวนแต่ละจำนวนในแถวที่สาม ( ยกเว้นจำนวนแรก ) เกิดจากผลต่างระหว่างจำนวนในแถวที่ 1 และแถวที่ 2 ที่อยู่ในตำแหน่งเดียวกัน เช่น
-3 เกิดจาก -1 – (- 4)
-2 เกิดจาก -8 – (- 6)
11 เกิดจาก 15 – 4
ตัวอย่างที่ 4. จงหา ![]() วิธีทำ ในที่นี้ x - a = x – 3 ดังนั้น a = 3 ![]() ดังนั้น ![]() ![]() หรือ ![]() ![]() ในตัวอย่างนี้ เศษจากการหารเท่ากับ 0 แสดงว่าหารลงตัว |
|
ตัวอย่างที่ 5. จงหา ![]() วิธีทำ ในที่นี้ x – a = x + 1 = x – (-1) ดังนั้น a = -1 ![]() ดังนั้น ![]() หรือ ![]() |
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น